โพสประกาศขายในไทยฟรี ทุกหมวดหมู่
โพสประกาศ ขายฟรีในไทย
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว:
สินค้าขายในไทย โพสฟรี รองรับ SEO เวบบอร์ดโพสประกาศ
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
โพสประกาศขายในไทยฟรี ทุกหมวดหมู่
»
หมวดหมู่ทั่วไป
»
โพสฟรี ขายในไทย ทุกหมวดหมู่
»
น้ำเชื่อมฟรักโทส, ฟรักโทสไซรัป, Fructose Syrup, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส ราคาโรงงาน
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
หน้า: [
1
]
ผู้เขียน
หัวข้อ: น้ำเชื่อมฟรักโทส, ฟรักโทสไซรัป, Fructose Syrup, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส ราคาโรงงาน (อ่าน 3 ครั้ง)
polychemicals9
Hero Member
กระทู้: 2434
โพสประกาศขายในไทยฟรี
น้ำเชื่อมฟรักโทส, ฟรักโทสไซรัป, Fructose Syrup, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส ราคาโรงงาน
«
เมื่อ:
วันที่ 16 พฤษภาคม 2025, 22:19:50 น. »
น้ำเชื่อมฟรักโทส
, ฟรักโทสไซรัป, Fructose Syrup,
ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส, จำหน่ายน้ำเชื่อมฟรักโทส, ส่งออกน้ำเชื่อมฟรักโทส,
F42C, F55B, F90A, F90B, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส,
โรงงานน้ำเชื่อมฟรักโทส, จำหน่ายน้ำเชื่อมฟรักโทส,
นำเข้าน้ำเชื่อมฟรักโทส, ส่งออกน้ำเชื่อมฟรักโทส
ผลิตน้ำเชื่อมฟรุกโตส, โรงงานน้ำเชื่อมฟรุกโตส, จำหน่ายน้ำเชื่อมฟรุกโตส,
นำเข้าน้ำเชื่อมฟรุกโตส, ส่งออกน้ำเชื่อมฟรุกโตส, ผลิตฟรักโทสไซรัป,
โรงงานฟรักโทสไซรัป, จำหน่ายฟรักโทสไซรัป, นำเข้าฟรักโทสไซรัป,
ส่งออกฟรักโทสไซรัป, ผลิตฟรุกโตสไซรัป, โรงงานฟรุกโตสไซรัป,
จำหน่ายฟรุกโตสไซรัป, นำเข้าฟรุกโตสไซรัป, ส่งออกฟรุกโตสไซรัป
ผลิตน้ำเชื่อม, โรงงานน้ำเชื่อม, จำหน่ายน้ำเชื่อม, นำเข้าน้ำเชื่อม,
ส่งออกน้ำเชื่อม, ผลิตไซรัป, โรงงานไซรัป, จำหน่ายไซรัป,
นำเข้าไซรัป, ส่งออกไซรัป, น้ำเชื่อมไทย, ไซรัปไทย,
ไทยแลนด์ไซรัป, Thailand Syrup, Thai Syrup
สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร)
Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)
Tel No:
034854888
Mobile:
0893128888
Line ID:
thaipoly8888
Email:
thaipoly8888@gmail.com
Web:
www.thaipolychemicals.com
TPCC PKSN FRUCTOSE THAILAND
ผลิตสารให้ความหวาน, โรงงานสารให้ความหวาน, จำหน่ายสารให้ความหวาน,
นำเข้าสารให้ความหวาน, ส่งออกสารให้ความหวาน
ผลิตสวีทเทนเนอร์, โรงงานสวีทเทนเนอร์, จำหน่ายสวีทเทนเนอร์, นำเข้าสวีทเทนเนอร์,
ส่งออกสวีทเทนเนอร์, ไทยแลนด์สวีทเทนเนอร์
SWEETENER, MFG SWEETENER, IMPORT SWEETENER,
EXPORT SWEETENER, THAILAND SWEETENER
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ น้ำเชื่อมฟรุกโตส,
ฟรุกโตสไซรัป (Fructose Syrup)
รายละเอียดทั่วไปของสินค้า
น้ำเชื่อมชนิดนี้ โดยปกติจะไม่พบในธรรมชาติ เป็นน้ำเชื่อมที่ได้จากการไฮโดรไลซ์สตาร์ช ได้เป็นน้ำตาลกลูโคส และเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นฟรุกโตส
โดยปฏิกิริยาไอโซเมอร์ไรเซชัน(Isomerization) โดยใช้เอนไซม์กลูโคสไอโซเมอเรส ถูกคิดค้นและผลิตโดยชาวญี่ปุ่นชื่อ Yoshiyuki Takasaki เมื่อปี 1966 โดยการทำให้มีปริมาณความหวานของน้ำตาลฟรุกโตสเพิ่มขึ้นกว่าเดิม ในต่างประเทศส่วนมากจะเรียกว่า high-fructose corn syrup (HFCS) เนื่องจากพืชผลทางการเกษตรในต่างประเทศ มีข้าวโพดเป็นจำนวนมาก จึงใช้ข้าวโพดมาผลิต แต่สำหรับประเทศไทยนั้น จะใช้มันสำปะหลังเป็นหลัก น้ำเชื่อมฟรุกโตส (High-fructose syrup) ประกอบด้วยน้ำ 24 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือคือน้ำตาลฟรุกโตส ผสมกับน้ำตาลกลูโคส
น้ำเชื่อมฟรุกโตส (Fructose Syrup) ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล จำหน่าย มีหลายเกรด ได้แก่
F42C ประกอบด้วย น้ำตาลฟรุกโตส ประมาณ 42% Min และค่าความหวาน Brix 71% Min
F55B ประกอบด้วย น้ำตาลฟรุกโตส ประมาณ 55% Min และค่าความหวาน Brix 77% Min
F90A ประกอบด้วย น้ำตาลฟรุกโตส ประมาณ 86% Min และค่าความหวาน Brix 79% Min
F90B ประกอบด้วย น้ำตาลฟรุกโตส ประมาณ 86% Min และค่าความหวาน Brix 74% Min
น้ำเชื่อมฟรุกโตส
จะมีรสหวานมากกว่าน้ำเชื่อมจากน้ำตาลซูโครสหรือกลูโคส
ในปัจจุบันน้ำเชื่อมชนิดนี้ ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
เนื่องจากมีราคาถูกกว่าน้ำตาลทรายจากอ้อย ในประเทศไทยมีโรงงานผลิตน้ำเชื่อมฟรุกโตสหลายแห่ง
โดยใช้วัตถุดิบจากมันสำปะหลัง
คุณสมบัติ น้ำเชื่อมฟรุกโตส
รสหวาน นุ่มนวล อร่อย ไม่บาดคอ ไม่ติดลิ้น
เป็นสารให้ความหวานจากธรรมชาติ สะอาดปลอดภัย ไม่ฟอกสี
ผลิตภายใต้กระบวนการปลอดเชื้อ ปราศจากการปรุงแต่งรสชาติหรือสิ่งแปลกปลอม
ความเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ร่างกายดูดซึมไปใช้ได้ทันที ทำให้ผู้บริโภครับรู้รสเร็ว
และรู้สึกสดชื่น ช่วยกระตุ้นกลิ่น และรสชาติอาหาร โมเลกุลเล็กแยกกันอยู่อย่างอิสระ
ตกผลึกช้า ไม่ไปบดบังสีและกลิ่น จึงทำให้อาหารและเครื่องดื่มมีสีวาว สดใส
ดูใหม่อยู่เสมอ ทั้งช่วยลดปริมาณการใช้วัตถุแต่งกลิ่นและสีที่ราคาแพง
ความหวานคงที่ (brix) มีมาตรฐาน หวานเท่ากันทุกถุง ง่ายต่อการตวงใช้
ช่วยควบคุมรสหวานได้ดีขึ้น ช่วยยืดอายุการจัดเก็บรักษาอาหารและเครื่องดื่ม
เนื่องจากความดันออสโมติกสูง น้ำเชื่อมฟรุกโตสใช้กันแพร่หลายในต่างประเทศ
เป็นที่เคยชินของลูกค้า เหมาะกับกระแสการรักษาสุขภาพ
ใช้ในเมนูสุภาพ และเหมาะกับเมนูอาหารของคนทันสมัย
ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม หรือ ไซรัป, ซีรัป (Syrup) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป, เด็กซ์โตรสซีรัป, น้ำตาลเดกซ์โทรส
Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป, ฟรุกโตสซีรัป, น้ำตาลฟรักโทส
Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป, กลูซิทอลซีรัป
Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสซีรัป, น้ำตาลกลูโคส
Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลติทอล, มอลติทอลไซรัป, มอลติทอลซีรัป
Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป, มอลโทสซีรัป, น้ำตาลมอลโทส
Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป, ซอร์บิทอลซีรัป
ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อมผง หรือ พาวเดอร์ (Powder) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
Dextrose Powder, เดกซ์โตรสผง, ผงเดกซ์โตรส, น้ำตาลเดกซ์โทรส
Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ผงฟรุกโตส, ฟรักโทสผง, น้ำตาลฟรักโทส
Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล, กลูซิตอล
Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง
Maltitol Powder, มอลติทอลผง, ผงมอลติทอล, มอลทิทอล
Maltose Powder, มอลโทสผง, ผงมอลโทส, มอลโตส
Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล
More information of syrup, natural sweetener, food grade, food additive
Please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC), FCC, Thailand
รายละเอียดทั่วไปของผลิตภัณฑ์ แบะแซ
แบะแซ หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง
ซึ่งจะมีน้ำตาลกลูโคสชนิดหนึ่ง เป็นผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม ที่มีลักษณะ เหนียว ใส หนืด มีทั้งชนิดใสและสีเหลืองน้ำตาลอ่อน นิยมใช้เพื่อช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ไม่ตกผลึกหรือมีลักษณะเนื้อเป็นทราย เหมือนน้ำตาลประเภทอื่นๆ ในต่างประเทศเราจะพบว่ามี Corn Syrup ซึ่งเป็นแบะแซอีกชนิดหนึ่ง เป็นน้ำตาลที่ได้จากการเปลี่ยนแป้งข้าวโพดให้เป็นน้ำตาล ซึ่งเป็นแหล่งสารให้ความหวานราคาถูก เพื่อใช้ทดแทนน้ำตาลเช่นเดียวกัน
แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน
ที่นิยมใช้ให้ความหวานแทนน้ำตาล นิยมใช้กันทั้งในอุตสาหกรรมอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป ขนมหวาน น้ำหวาน ลูกกวาด ลูกอม รวมทั้งอุตสาหกรรมยาอีกด้วย แบะแซเป็นสารให้ความหวาน ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง หรือแป้งข้าวโพด โดยส่วนใหญ่จะใช้เพื่อทดแทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหาร และการผลิตของหวานเป็นส่วนใหญ่ แบะแซยังช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาการตกทรายหรือน้ำตาลตกผลึกได้เป็นอย่างดี นิยมนำมาทำกระยาสารท ทำน้ำราดข้าวหมูแดง หรือเพิ่มความเหนียวข้นให้กับน้ำจิ้ม น้ำปรุง น้ำหวาน เป็นต้น
ความแตกต่างระหว่าง แบะแซ และ น้ำเชื่อม
แบะแซเกิดจากการย่อยแป้งจนกลายเป็นน้ำตาล กลายเป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด
แต่น้ำเชื่อมนั้นเกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า กระบวนการผลิตจึงมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อีกทั้งน้ำเชื่อมยังให้ความหวานแหลม ซึ่งหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย หากวางแบะแซทิ้งไว้ ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อม
ประโยชน์และการนำแบะแซไปใช้งาน
แบะแซะ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน เช่นเดียวกับน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity)
ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วย ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (Dextrose Equivalent) หรือค่า DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดจะลดน้อยลง
ข้อมูล ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (DE)
ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส หรือ Dextrose Equivalent หรือ เรียกสั้นๆว่า DE
คือ ปริมาณร้อยละของน้ำตาลรีดิวซ์ (Reducing Sugar) คิดเป็นปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose) ที่มีอยู่ในคาร์โบไฮเดรตทั้งหมด ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ค่า Dextrose Equivalent (DE) แสดงถึงระดับการย่อยแป้ง (Flour) หรือ สตาร์ช (Starch) ให้เป็นน้ำตาลกลูโคสหรือเด็กซ์โทรส โดยสตาร์ซ (Starch) มีค่า DE เท่ากับ 0 ขณะที่น้ำตาลกลูโคสมีค่า DE เท่ากับ 100 ตัวอย่างค่า DE ของคาร์โบไฮเดรตบางชนิด เช่น มอลโทเด็กซ์ทริน (Maltodextrin) มีค่า DE เท่ากับ 8, 10, 12, 20, 30 เป็นต้น ค่า Dextrose Equivalent ใช้เป็นข้อกำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการย่อยแป้งให้มีโมเลกุลเล็กลง (Starch Hydrolysis) ซึ่งใช้เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) โดยจะไม่นิยมกำหนดค่าความหวาน (Relative Sweetness) แต่จะกำหนดเป็นค่า DE แทน ค่า DE ที่สูงกว่า แสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีความหวานมากกว่าค่า DE ที่ต่ำกว่า ค่า Dextrose Equivalent ของน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) หมายถึง ปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose, ซึ่งคือ D-glucose) ที่มีอยู่ในน้ำเชื่อมกลูโคสทั้งหมด โดยน้ำหนักแห้ง หากสตาร์ช (Starch) ถูกไฮโดรไลซ์เป็นน้ำตาลกลูโคสมาก จะทำให้ได้น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE สูงมีความหวานมาก และมีความใสมากขึ้น
แบะแซ คือสารละลายของน้ำตาล
จำพวก เด็กซ์โตรส มอลโตส กลูโตเด็กซ์ทริน ได้จากการย่อยแป้งด้วยเอนไซม์ ซึ่งแป้งเหล่านี้ได้มาจาก ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำปะหลัง เป็นต้น โดยแบะแซ ในประเทศไทยนิยมทำมาจากมันสำปะหลัง แบะแซมีลักษณะ เหนียว ใส นิยมนำมาใช้ในการทำขนม ผลไม้กวน และอาหารอีกหลากหลายชนิด
กลูโคสไซรัป
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายแป้ง มีลักษณะเป็นของเหลว ใส เหนียว ข้น รสหวานเล็กน้อย ไม่มีสี ใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายชนิด เช่น ลูกกวาด ทอฟฟี่ต่าง ๆ ผลไม้กวน น้ำผลไม้ผง ไอศกรีม ครีมเทียม และเครื่องดื่มต่าง ๆ เป็นต้น น้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) อาจเรียกว่า กลูโคสไซรัป หรือ แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) ที่เป็น ของเหลว ใส และข้นหนืด
การผลิต น้ำเชื่อมกลูโคส
น้ำเชื่อมกลูโคส เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยโมเลกุลของสตาร์ชให้เล็กลง (Starch Hydrolysis) การผลิตน้ำเชื่อมกลูโคส มีวัตถุดิบหลักคือ สตาร์ช (Starch) จากแป้ง เช่น แป้งข้าวโพด แป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าวเจ้า นำมาผสมกับน้ำ แล้วทำให้สุก (Gelatinization) หลังจากนั้นน้ำแป้งสุกจะถูกย่อย (Hydrolysis) ด้วยกรดหรือเอนไซม์ (Enzyme) ที่ย่อยสตาร์ชได้ เช่น Amylase ทำให้สตาร์ชมีขนาดโมเลกุลเล็กลง กระบวนการทำให้สตาร์ชมีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า Starch Hydrolysis ได้เป็นน้ำเชื่อมกลูโคสที่เป็นของเหลว ใส หวาน ข้น หนืด มีส่วนประกอบเป็นน้ำตาลกลูโคส (Glucose) มอลโทส (Maltose) และโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) ปัจจุบันนิยมผลิตกลูโคสไซรัป ด้วยการย่อยด้วยเอนไซม์ เนื่องจาก ให้ความบริสุทธ์ของกลูโคสมากกว่าการย่อยด้วยกรด
คุณสมบัติของ น้ำเชื่อมกลูโคส
น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน
เหมือนน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity) ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วยค่า Dextrose Equivalent หรือ DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดน้อยลง
วัตถุประสงค์ การใช้น้ำเชื่อมกลูโคสในอาหาร
เพื่อให้ความหวาน (Sweetener)
หรือเพิ่มความหวานให้อาหาร ป้องกันการตกผลึกของน้ำตาล ปรับปรุงเนื้อสัมผัส (Texture) และเป็นวัตถุดิบหลักของการผลิต น้ำเชื่อมฟรักโทส หรือ ฟรักโทสไซรัป (Fructose Syrup) ซึ่งมีความหวานมากกว่าน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup)
การใช้กลูโคสไซรัป ในผลิตภัณฑ์อาหาร
เครื่องดื่ม (Drink and Beverage)
ครีมเทียม (Non-Dairy Creamer), NDC
น้ำอัดลม (Carbonated Beverage)
ขนมหวาน (Confectionery)
ลูกกวาด (Candy)
ไอศกรีม (Ice Cream)
แยม (Jam)
ผลไม้กวน (Preserved Fruit)
ซอส, น้ำจิ้ม (Sauce, Seasoning)
ยาแก้ไอ, ยาน้ำเชื่อม, ยาไซรัป (Syrup)
เป็นต้น
สารให้ความหวานในชีวิตประจำวัน
สารให้ความหวานที่เรารู้จักกันดี มักมาในรูปแบบ น้ำตาลทราย น้ำตาลปี๊บ และน้ำเชื่อม
แต่ยังมีอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์สารให้ความหวาน ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหาร นั่นก็คือ “แบะแซ” ซึ่งเป็นสารให้ความหวานใกล้ตัว ที่หลายคนรู้จักและพบเห็นเป็นประจำในอาหาร หรือขนมที่เรารับประทานในชีวิตประจำวัน ชื่อของแบะแซ อาจจะคุ้นหูกับคนที่ชื่นชอบการทำอาหารหรือทำขนมมาบ้าง แต่คงมีอีกหลายคนที่ไม่รู้จักกับผลิตภัณฑ์ให้ความหวานอย่างแบะแซ ว่าแท้จริงแล้ว แบะแซคืออะไร มีประโยชน์หรือคุณสมบัติอย่างไร และนิยมนำไปใช้ทำอะไร
แบะแซ คืออะไร
แบะแซ หรืออีกหนึ่งชื่อเรียกคือ น้ำเชื่อมกลูโคส หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือกลูโคสก้อน
เป็นสารชีวิโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง จะมีลักษณะเหนียวใส หนืด มีทั้งแบบใสและสีเหลืองน้ำตาล ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อช่วยทำให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาน้ำตาลตกผลึก หรือเป็นทราย
ประเภทของ แบะแซ
แบะแซน้ำ :
มักจะใช้ในการทำอาหารหรือเป็นส่วนผสมในอาหารทั่วไป เช่น น้ำราดข้าวหมูแดง, น้ำจิ้ม, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ช็อคโกแลต, ไอศกรีม แบะแซช่วยทำให้ไอศกรีมละลายช้าลง, กระยาสารท, ขนมถั่วตัด และ ขนมหนวดมังกร เป็นต้น
แบะแซผง :
นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่น ลูกอม, ขนมหวาน, ลูกกวาด รวมทั้ง อุตสาหกรรมยา และช่วยเคลือบเงาผลิตภัณฑ์อาหารได้อีกด้วย “แบะแซผง” เป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์ Glucose Syrup ใช้ประกอบการเคลือบเงาผลิตภัณฑ์ เช่นขนมเม็ดสีของเด็ก ๆ ลูกอมต่าง ๆ เพิ่มเนื้อสัมผัส หรือปรับปรุงลักษณะของผลิตภัณฑ์ แต่เนื่องจากแบะแซผง ได้ผ่านกระบวนการทำให้แห้งด้วยระบบ “สเปรย์ดราย” ทำให้สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานขึ้น เมื่อเก็บรักษาในภาชนะปิดผนึก ที่อุณหภูมิห้อง และยังสะดวกต่อการนำไปใช้งานในลักษณะผสมแห้ง หรือ ดรายมิกซ์ (Dry Mix) อีกทั้งยังสามารถปรับค่า Brix ได้ตามสัดส่วนการละลายในน้ำอุ่น จึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อผู้ใช้งานในอุตสาหกรรมอาหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงงานอุตสาหกรรมที่ทันสมัยจึงนิยมใช้ แบะแซผง หรือ กลูโคสผง กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน
แบะแซ และ น้ำเชื่อม แตกต่างกันอย่างไร
แบะแซ เป็นสารชีวโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง
เป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด
แต่สำหรับน้ำเชื่อมนั้น เกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า ซึ่งกระบวนการผลิตแบะแซและน้ำเชื่อมก็แตกต่างกัน
อีกทั้งน้ำเชื่อม ยังให้ความหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย ที่สำคัญ หากวางแบะแซทิ้งไว้ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อมนั่นเอง
คุณสมบัติในการใช้งานของแบะแซ
แบะแซ ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง มีลักษณะเหนียวใส มีความข้นหนืด และความหวานต่ำ
สามารถใช้แบะแซเป็นส่วนผสมในอาหารแทนการใช้น้ำตาลได้เป็นอย่างดี ส่วนมากจะใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ที่ต้องการความหวาน เพื่อช่วยในเรื่องลดเวลาในกระบวนการผลิต เช่น การใช้แบะแซร่วมกับน้ำตาล จะช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ตัวอย่างเช่น เวลากวนไส้ขนมเปี๊ยะ แบะแซจะช่วยทำให้ไส้ขนมเกาะตัว ทำให้ปั้นขนมง่ายขึ้นนั่นเอง และยังมีความหนืดคงที่ ไม่คืนตัว ด้วยคุณสมบัติพิเศษข้างต้น ทำให้แบะแซเป็นที่นิยมนำมาผสม เพื่อกวนไส้ขนม, ลูกชุบ, ขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ไส้ขนมเกาะตัวกัน เวลาปั้นไส้ สามารถปั้นได้ง่ายขึ้นนั่นเอง
ประโยชน์ของแบะแซ
แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน ที่แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง
ส่วนใหญ่จะใช้แทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักจะใช้ในการทำอาหารหรือขนมหวานเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในชีวิตประจำวัน เราสามารถพบเห็นการนำแบะแซไปประกอบอาหารหรือทำขนมได้โดยทั่วไป เพราะนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้ทำเป็นกระยาสารท, ลูกอม, น้ำจิ้ม, ซอส, ไส้ขนม, น้ำราดข้าวหมูแดง เป็นต้น อาหารเหล่านี้ก็ล้วนแล้วแต่มีส่วนผสมของแบะแซอยู่ นอกจากนี้ยังสามารถดัดแปลง นำมาใช้เคลือบอาหารเพื่อทำให้ดูขึ้นเงา น่ารับประทานยิ่งขึ้นอีกด้วย ผลิตภัณฑ์แบะแซ จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือก เป็นตัวช่วยเพิ่มความความอร่อยของอาหารมากยิ่งขึ้น โดยผลิตภัณฑ์แบะแซ ของไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย นิยมใช้เป็นส่วนผสมในการกวนไส้ขนม เช่น ถั่วกวนในขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ปั้นไส้ง่ายขึ้น และอาหารประเภทน้ำราดข้าวหมูแดง, กระยาสารท, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ซอสเคลือบเป็ดย่าง ก็ใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล นอกจากจะสามารถนำแบะแซไปทำของหวาน หรืออาหารต่าง ๆ แล้ว ยังสามารถนำ แบะแซ ไทยโพลี ไปใช้เป็นส่วนผสมในการทำนมหนืด สำหรับเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ หรือใช้เป็นส่วนผสมในการเคลือบ ทำให้อาหารหรือขนมหวานของเราเงางาม เช่น กรอบเค็ม ครองแครง เป็นต้น แบะแซ มีหลายเกรด หลายคุณสมบัติ หลายคุณภาพด้วยกัน โดยแบะแซในประเทศไทย ส่วนใหญ่นิยมทำมาจากมันสำปะหลัง ซึ่งผลิตภัณฑ์ แบะแซ ไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลังคุณภาพดีเยี่ยม ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดเวลาในการประกอบอาหารที่คุณชื่นชอบ และเพิ่มความหวานให้อาหารมีรสชาติชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น สามารถสั่งซื้อแบะแซ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ได้โดยตรงที่ ฝ่ายขาย วัตถุเจือปนอาหาร บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด โทร 034854888 โทร 0893128888 ไลน์ไอดี thaipoly8888 อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888@gmail.com เว็บไซต์
www.thaipolychemicals.com
ชื่อเรียกอื่น ๆ ของ แบะแซ น้ำเชื่อมกลูโคส (Synonym of Glucose Syrup)
ได้แก่ น้ำเชื่อมกลูโคส, น้ำตาลกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสไซรัพ, กลูโคสซีรัป, กลูโคสซีรัพ, กลูโคสเหลว, กลูโคสน้ำ, กลูโคสผง, แบะแซ, แป๊ะแซ, น้ำเชื่อม G40S, ไซรัป G40S, แบะแซ G40S, กลูโคสก้อน, กลูโคสข้น, กลูโคสเหนียว, กลูโคสแบะแซ, แบะแซน้ำ, แบะแซเหลว, แบะแซผง, แบะแซG40S, สารให้ความหวาน, สวีทเทนเนอร์, สวีทเทนนิ่งเอเจ้น, Glucose Syrup, Liquid Glucose, Glucose Solution, Glucose G40S, Syrup G40S, Sweetener, Sweetening Agent, etc.
สินค้าในกลุ่ม สวีทเทนเนอร์, Sweetener ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค
Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม
Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล
Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม
Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส
Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต
Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป
D-Xylose, ดีไซโลส
Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท
Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล
Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน
Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง
Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป
Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล
Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป
Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง
Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ
Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน
Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล
High Maltose Syrup, HMS50, น้ำเชื่อมมอลโทส 50
Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส
Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง
Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน
Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์
Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต
Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก้วย
Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล
Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล
Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป
Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน
Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป
Mannitol, แมนนิทอล, มัลนิทอล
Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม
Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน
Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร
Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล
Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล
Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป
Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ
Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ
Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์
Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย
Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส
Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์
Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล
Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส
Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน
Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สวีทเทนเนอร์ สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล
More information of sweetener, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)
BY PKSN 2025
คำค้นหา :
น้ำเชื่อมฟรักโทส,
ฟรักโทสไซรัป
, Fructose Syrup, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส,
จำหน่ายน้ำเชื่อมฟรักโทส, ส่งออกน้ำเชื่อมฟรักโทส, F42C, F55B, F90A, F90B
บันทึกการเข้า
พิมพ์
หน้า: [
1
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
โพสประกาศขายในไทยฟรี ทุกหมวดหมู่
»
หมวดหมู่ทั่วไป
»
โพสฟรี ขายในไทย ทุกหมวดหมู่
»
น้ำเชื่อมฟรักโทส, ฟรักโทสไซรัป, Fructose Syrup, ผลิตน้ำเชื่อมฟรักโทส ราคาโรงงาน