ผู้เขียน หัวข้อ: เลซิติน, เลซิตินน้ำ, เลซิตินเหลว, เลซิตินผง, เลซิตินเกรดอาหาร, เลซิตินอิมัลซิไฟเ  (อ่าน 2 ครั้ง)

m.polychemicals

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
  • โพสประกาศขายในไทยฟรี
    • ดูรายละเอียด
เลซิติน, เลซิตินน้ำ, เลซิตินเหลว, เลซิตินผง, เลซิตินเกรดอาหาร, เลซิตินอิมัลซิไฟเออร์, เลซิตินถั่วเหลือง
เลซิทิน, เลซิทินน้ำ, เลซิทินเหลว, เลทิทินผง, เลซิทินเกรดอาหาร, เลซิทินอิมัลซิไฟเออร์, เลซิทินถั่วเหลือง
Lecithin, Liquid Lecithin, Lecithin Liquid, Powdered Lecithin, Lecithin Powder, Lecithin Food Grade, Lecithin Food Additive, Lecithin Emulsifier, Soy Lecithin, Soya Lecithin, E322, INS322, สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล โทร 034854888, 0893128888, ไลน์ thaipoly8888
เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี
สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต
Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP
Please Contact Thai Poly Chemicals Company, POLY CHEMICALS FOR A BETTER LIFE
ผลิตภัณฑ์ อิมัลซิไฟเออร์ เกรดอาหาร (Emulsifier Food Grade) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
E322, Lecithin, Lecithin Liquid, Lecithin Powder, Soy Lecithin, Soya Lecithin
E322, Lecithin, Lecithin Liquid, Lecithin Powder
E471, Distilled Monoglycerides, DMG
E471, Glycerol Monostearate, GMS
E471, Glyceryl Monostearate, GMS
E471, Mono and Diglycerides, MDG
E472b, Lactic Acid Ester of Mono and Diglycerides, LACTEM   
E472e, Diacetyl Tartaric Acid Ester of Mono and Diglycerides, DATEM
E476, Polyglycerol Polyricinoleate, PGPR
E477, Propylene Glycol Monostearate, PGMS
E481, Sodium Stearoyl 2 Lactylate, SSL
E491, Sorbitan Monostearate, Sorbitan Stearate, SMS, SPAN60
Emulsifier, Emulsifying Agent, อิมัลซิไฟเออร์, อิมัลซิฟายเออร์, สอบถามได้ที่ฝ่ายขาย TPCC
Commodity Emulsifier, อิมัลซิไฟเออร์พื้นฐาน, อิมัลซิฟายเออร์พื้นฐาน, สอบถามได้ที่ฝ่ายขาย TPCC
Specialty Emulsifier, อิมัลซิไฟเออร์ชนิดพิเศษ, อิมัลซิฟายเออร์ชนิดพิเศษ, สอบถามได้ที่ฝ่ายขาย TPCC
MK0001
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ อิมัลซิไฟเออร์
อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ช่วยให้อิมัลชัน (Emulsion) คงตัวด้วยการลดแรงตึงผิว (Surface Tension) ของของเหลว โดยช่วยทำให้อิมัลชันมีความคงตัว และป้องกันไม่ให้อิมัลชันแยกเป็นชั้น ซึ่งในโมเลกุลของอิมัลซิไฟเออร์ มีทั้งส่วนที่ชอบน้ำ (Hydrophilic) และส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic) โดยจะหันส่วนที่ชอบน้ำเข้าหาน้ำ และหันส่วนที่ไม่ชอบน้ำเข้าหาไขมัน เป็นฟิล์มหุ้ม
ประเภทของอิมัลซิไฟเออร์
1. อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากธรรมชาติ ซึ่งรวมถึง สารประกอบฟอสฟอลิพิด (Phospholipids) เช่น เลซิทิน (Lecithin) ที่ได้จากถั่วเหลือง และไข่แดง ไฮโดรคอลลอยด์ (Hydrocolloid) และกัม (Gum) ชนิดต่างๆ รวมถึง โปรตีน เช่น เวย์ (Whey) เป็นต้น
2. อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากการสังเคราะห์ ซึ่งมักจะเตรียมจากพอลิออล (Polyols) และกรดไขมัน เช่น ไดกลีเซอไรด์ (Diglyceride) โมโนกลีเซอไรด์, มอโนกลีเซอไรด์ (Monoglyceride) เป็นต้น
การเลือกใช้งานอิมัลซิไฟเออร์
พิจารณาจากสัดส่วน ระหว่างส่วนที่ชอบน้ำ กับส่วนที่ชอบน้ำมัน (Hydrophile-Lipophile Balance, HLB) ซึ่งเป็นอัตราส่วนโดยน้ำหนักของมวลโมเลกุลส่วนที่ชอบน้ำ (Hydrophilic) กับมวลโมเลกุลทั้งหมด คูณด้วย 2 (Griffin's method) มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 20 เป็นค่าที่ใช้กำหนดการนำมาใช้งานของอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
สารที่มีค่า HLB เท่ากับ 0 คือสารที่ในโมเลกุล มีส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic) ทั้งหมด และไม่ละลายในน้ำ
ค่า HBL สูงขึ้น คือสารที่โมเลกุลจะมีส่วนที่ชอบน้ำมากขึ้น กระจายตัวในน้ำได้ดีขี้น
ค่า HLB ตั้งแต่ 3-6 เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดน้ำในน้ำมัน (Water-in-oil emulsifier)
ค่า HLB ตั้งแต่ 8-18 เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดน้ำมันในน้ำ (Oil-in-water emulsifier)
คำค้นหาอิมัลซิไฟเออร์
Emulsifier, อิมัลซิไฟเออร์, อิมัลซิฟายเออร์, อีมัลซิไฟเออร์, อีมัลซิฟายเออร์
Emulsifying Agent, อิมัลซิไฟยิ่งเอเจนท์, อิมัลซิฟายยิ่งเอเจนท์, อีมัลซิไฟยิ่งเอจนท์, อีมัลซิฟายยิ่งเอเจนท์
Food Grade, Food Additive, FCC, Codex, เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, โคเดกซ์
วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน
ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม
การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ
การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ
สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener)
More information of Food additive, Food Grade Chemical
Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact
Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive)
Tel +6634 854888, +668 9312 8888
Official Line ID: thaipoly8888
Email: thaipoly8888 (at) gmail.com